The smart Trick of ฟ้อนเล็บ That No One is Discussing



ฟ้อนเทียน ผู้ฟ้อนถือเทียนจุดไฟมือละเล่มทั้งสองมือ ตามปกติใช้ฟ้อนในที่กลางแจ้งในเวลากลางคืน ความสวยงามอยู่ที่ใช้ผู้ฟ้อนเป็นจำนวนมาก และแสงเทียนเป็นประกายขณะที่เคลื่อนไหวไปตามลีลาของเสียงเพลง การฟ้อนนี้แต่เดิมมาคงใช้เป็นการฟ้อนสักการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และพิธีสำคัญในคุ้มเจ้าหลวง รูปแบบการฟ้อนที่ปรากฏซึ่งเป็นมาตรฐานสืบทอด ในเครือสถานศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และกรมศิลปากร เป็นแบบแผนที่ พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ทรงให้ครูฟ้อนในคุ้มปรับปรุงรูปแบบขึ้นและได้เคยฟ้อนถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว คราวเสด็จประพาสมณฑลพายัพ เมื่อ พ.

วัดศรีอุทุมพร ตำบลศรีดงเย็น อำเภอไชยปราการ

อื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นท่าฟ้อนและเครื่องแต่งกายที่ถูกปรับปรุงเปลี่ยนแปลงค่อนข้างมาก หรือการมีเล็บที่คล้ายคลึงกับรำมโนราห์ของภาคใต้ อีกทั้งการฟ้อนผู้ไทของจังหวัดสกลนครก็สวมเล็บเช่นกัน แต่หากกล่าวถึงเครื่องดนตรีและเพลงประกอบการฟ้อน ซึ่งจะแสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของฟ้อนเล็บที่ไม่มีภาคใดเหมือน และเมื่อพบเห็นฟ้อนชนิดนี้ที่ไหน ก็สามารถเข้าใจตรงกันว่าคือการแสดงฟ้อนเล็บ อันเป็นการแสดงที่อ่อนช้อยงดงามตามแบบฉบับของคนเมืองล้านนาโดยแท้

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ระดับจังหวัด

โอกาสที่ใช้แสดง แสดงในงานรื่นเริงทั่วไป

ต่อมาเมื่อนาฎศิลป์ทางภาคกลางแพร่มาสู่ภาคเหนือ การฟ้อนเล็บก็มีการปรับวิธีการฟ้อนให้เข้ากับท่ารำแม่บท เพิ่มท่ารำให้มากขึ้นและแตกต่างกันไป

  สำหรับเพลงที่ใช้บรรเลง ก็แล้วแต่ผู้เป่าแนจะกำหนดอาจใช้เพลงแหย่ง ฟ้อนเล็บ เพลงเชียงแสน เพลงหริภุญชัยหรือลาวเสี่ยงเทียน แต่ส่วนใหญ่จะใช้เพลงแหย่งเพราะช่างฟ้อนคุ้นกับเพลงนี้มากกว่าเพลงอื่น

การแต่งกาย แต่งตามแบบแผนกุลสตรีชาวเหนือ นุ่งซิ่นป้ายลายขวาง สวมเสื้อแขนกระบอก ห่มสไบ เกล้าผมประดับดอกไม้ ถ้าเป็นแบบแผนของคุ้มเจ้าหลวงผู้แสดงต้องสวมกำไรเท้า

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ระดับชาติ

การฟ้อนเล็บที่สืบทอดในสถาบันการศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และกรมศิลปากร ได้รับรูปแบบการฟ้อนจากคุ้มเจ้าหลวง ซึ่งได้รับการปรับปรุงรูปแบบในสมัยพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ต่อมาได้นำมาเผยแพร่ที่กรุงเทพฯ ในคราวสมโภช พระเศวตคชเดชดิลก ช้างเผือกในรัชกาลที่๗ เมื่อ พ.

ฉันยังไม่เคยมีใครใหม่ ที่มาแทนเธอได้เลย

รวบ “วัน ร่มเกล้า” อดีตนักมวยค่าตัวหลักแสน ผันตัวเป็นโจรจี้ชิงทรัพย์

ผู้แสดงจะร่ายรำตามทำนองเพลงที่เชื่องช้า ส่วนการใช้ท่าฟ้อนเล็บนั้น ช่างฟ้อนมักจะจำต่อ ๆ กันมา เป็นท่าฟ้อนดั้งเดิมของชาวเหนือ คือ

ฟ้อนเล็บของกรมศิลปากร ได้รับรูปแบบการฟ้อนจากคุ้มเจ้าหลวงเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ พระราชชายาเจ้าดารารัศมี เป็นผู้ปรับปรุง ซึ่งได้นำมาเผยแพร่ที่กรุงเทพมหานครในคราวสมโภชพระเศวตคชเดชน์ดิลก ช้างเผือกในรัชกาลที่ ๗ เมื่อ พ.

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *